วิธีการฉาบปูน
ReadyPlanet.com
dot
ค้นหาสินค้า


  [Help]
dot
bulletเช็ครายการสั่งซื้อ
bulletแจ้งการชำระค่าสินค้า
dot
หมวดหมู่สินค้า
dot
สี
dot
สินค้าแนะนำ
dot


วีว่าบอร์ด
ไม้อัดฟิล์มดำ
 อิฐมวลเบา คิวคอน
เกียงหวี เกรียงหวี
เกียงโป๊ว เกรียงโป๊ว


วิธีการฉาบปูน article

 งานฉาบปูน หมายรวมถึง งานฉาบ ปูน ผนังวัสดุก่อทั้งหมด ผนัง คสล. และงานฉาบปูนโครงสร้าง คสล. เช่น เสา คาน และท้องพื้นในส่วนที่มองเห็นด้วยตาทั้งหมด ยกเว้นฝ้าเพดานส่วนที่เป็นคอนกรีตสำเร็จรูป และงานคอนกรีตเปลือย


ขอบเขตของงาน ให้ฉาบปูนตามมาตรฐานและกรรมวิธีนี้บนผนังก่อ ผนังและเพดานคอนกรีต หรือวัสดุอื่น ๆ ทั่วไปตามที่ระบุไว้ในแบบ ทั้งนี้ยกเว้นพื้นที่วัสดุบางชนิดที่มีการระบุให้ฉาบปูนโดยวัสดุ หรือมาตรฐานเฉพาะของผู้ผลิตวัสดุนั้นช่น บล็อค คอนกรีตมวลเบา 

ข้อกำหนดทั่วไป 

1 การฉาบปูนทั้งหมด เมื่อฉาบครั้งสุดท้ายเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผนังจะต้องเรียบสะอาดสม่ำเสมอ ไม่เป็นรอยคลื่นและรอยเกรียงได้ดิ่งได้ระดับทั้งแนวนอน และแนวตั้ง มุม ทุกมุมจะต้องตรง ได้ดิ่ง และฉาก (เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นพิเศษในแบบรูป)
2 หากมิได้ระบุลักษณ ะ การฉาบปูนเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง ให้ถือว่าเป็นลักษณะ การฉาบปูนเรียบทั้งหมด
ปูนฉาบ ให้ใช้ ปูนซีเมนต์ผสมเสร็จ ผสมกับน้ำตามคำแนะนำของผู้ผลิต
4 การผสมปูนฉาบ จะต้องนำส่วนผสมรวมกันด้วยเครื่องผสมคอนกรีต การผสมด้วยมือจะอนุมัติให้ได้ในกรณีที่ผู้ควบคุมงานพิจารณาเห็นว่าได้คุณภาพเทียบเท่าผสมด้วยเครื่อง
5 ส่วนผสมของน้ำ จะต้องพอเหมาะกับการฉาบปูน ไม่เปียก หรือแห้งเกินไป ทำให้ปูนฉาบไม่ยึดเกาะผนัง
6. การทำความสะอาด : ภายหลังเสร็จการฉาบปูนแต่ละวัน จะต้องทำความสะอาดปูนที่เปื้อนบนพื้นให้เรียบร้อย ปูนที่เปื้อนบนผนังที่ฉาบตกแต่งแล้ว จะต้องทิ้งให้แห้งเสียก่อน จึงขุดออกได้

ขั้นตอนการฉาบปูน

ก่อนทำการฉาบปูนจะต้องตั้งเฟี้ยมทำระดับ จับเหลี่ยม เสาคาน ขอบ คสล. ต่าง ๆ ให้เรียบร้อยได้แนวดิ่ง และแนวระดับ ผนังและฝ้าเพดานควรจะทำระดับไว้เป็นจุด ๆ ให้ทั่ว เพื่อให้การฉาบปูนรวดเร็ว และเรียบร้อยขึ้น โดยใช้ปูนซีเมนต์ผสมเสร็จสำหรับงานจับเซี้ยมโดยเฉพาะ หรือใช้ปูนฉาบรองพื้นผิวคอนกรีตภายหลัง ปูนที่จับ เซี้ยมทำระดับเสร็จเรียบร้อย และแห้งดีแล้วให้ราดน้ำ หรือฉีดน้ำ ให้บริเวณที่จะฉาบปูนเปียกโดยทั่วกัน แล้วจึงทำการฉาบปูน

การฉาบปูนแบ่งเป็น 2ขั้นตอน คือ 

1.การฉาบปูนรองพื้น ภายหลังปูนที่ตั้งเพี้ยมทำระดับแห้งดีแล้ว ให้รดน้ำผนังให้เปียกโดยทั่วกัน แล้วจึงทำการฉาบปูนรองพื้นการฉาบปูนรองพื้นจะต้องให้ได้ระดับใกล้เคียงกับที่ตั้งเพี้ยมไว้ ก่อนที่ปูนฉาบรองพื้นจะเริ่มแข็ง ให้ขัดผิวหน้าของเปียกอยู่เสมอเป็นเวลา 48 ชั่วโมง และทิ้งไว้ให้แห้งก่อน 7 วัน จึงทำการฉาบปูนตกแต่งได้ ปูนฉาบรองพื้นจะมีความหนาประมาณ 13 มิลลิเมตร ในกรณีที่จำเป็นให้ฉาบปูนรองพื้นมากกว่า 1 ครั้ง ได้เพื่อให้ได้ความหนาที่ต้องการ การฉาบปูนรองพื้นบนผิวคอนกรีตและผิวอิฐอัดแรงให้สลัดปูนผิวคอนกรีตและอิฐอัดแรงก่อน ปูนสลัดให้ใช้ส่วนผสมของซีเมนต์ 1 ส่วน ต่อทราย 1 ส่วน ก่อนสลัดปูนจะต้องรดน้ำผิวที่จะสลัดให้เปียกเสียก่อน การสลัดปูนให้สลัดด้วยไม้กวาด และจะต้องมีผิวปูนติดเสมอกันทั้งหมด รดน้ำปูนสลัดเสมอเป็นเวลา 48 ชั่วโมง และทิ้งไว้ให้แห้งจึงทำการฉาบปูนรองพื้นได้

2. การฉาบปูนตกแต่ง ก่อนฉาบปูนตกแต่งให้รดน้ำผนังที่จะฉาบปูนให้เปียกโดยทั่วกันเสียก่อน จึงฉาบปูนตกแต่งได้ โดยใช้เกรียงไม้ฉาบกดอัดปูนให้เกาะติดแน่นกับชั้นปูนฉาบรองพื้น ปูนฉาบตกแต่งจะต้องมีความหนาประมาณ 5 มิลลิเมตร ในกรณีที่ระบุให้ปูนฉาบขัดมันให้ฉาบปูนตกแต่งให้ได้ระดับเสียก่อน จึงทำการขัดมันผิวหน้า ปูนฉาบตกแต่งจะต้องได้รับการรดน้ำให้เปียกอยู่ตลอดเวลา 48 ชั่วโมง เพื่อกันการดูดน้ำปูน เเละการเเตกร้าวตามมา

การซ่อมผิวปูนฉาบที่เเตกร้าวเเละไม่จับผนัง ผิวของปูนฉาบที่แตกร้าว และผิวปูนที่ไม่จับผนังหลังจากฉาบปูนแล้ว จะต้องทำการซ่อมแซมโดยสกัดปูนฉาบออกกว้างไม่ต่ำกว่า 10 เซนติเมตร ทำผิวกำแพงให้ขรุขระล้างให้สะอาด ทาด้วยน้ำยาช่วยการยึดเกาะ แล้วจึงทำการฉาบปูนใหม่ที่มีส่วนผสมของน้ำยาช่วยยึดเกาะ ผิวปูนที่ฉาบใหม่ จะต้องเรียบสนิทเป็นเนื้อเดียวกับผิวปูนฉาบเดิม




บทความ

Promotion ประจำสัปดาห์ 22-28 กรกฎาคม 2567
ลอนคู่ VS ลอนเล็ก แบบไหนใช้ดีกว่ากัน
ปูนเสือ มอร์ตาร์ ฉาบสำเร็จทั่วไป: ฉาบง่าย เนียนสวย จบไว
ปูนฉาบอิฐมวลเบา ทีพีไอ M 210: ฉาบง่าย เนียนสวย จบไว
ปูนฉาบสำเร็จรูป ทีพีไอ M 200: ฉาบง่าย เนียนสวย จบไว
ไม้อัดยาง หน้าดำ: วัสดุก่อสร้างราคาประหยัด คุณภาพดี
ปูนก่ออิฐมวลเบา ตราจิงโจ้ ม่วง (40กก.): ของดีสำหรับงานก่อสร้าง!
ปูนเสือ มอร์ตาร์ ฉาบอิฐมวลเบา: ทาปูนง่าย ฉาบเนียน สวย
อิฐมวลเบาไทคอน: ทางเลือกใหม่สำหรับงานก่อสร้างที่เหนือกว่า!
อิฐมวลเบาคิวคอน: วัสดุก่อสร้างแห่งอนาคต ยกระดับบ้านของคุณให้เหนือกว่า
ปูนกาวกระเบื้องจระเข้เขียว: เพื่อนซี้ช่างปูกระเบื้อง งานไหนก็เอาอยู่!
ทับหลังและเสาเอ็น องค์ประกอบสำคัญของโครงสร้าง
ผ้าใบฟ้าขาว วัสดุก่อสร้างอเนกประสงค์ที่คุ้มค่า
น้ำมันสน ตัวช่วยงานก่อสร้างที่ทรงพลัง
ทินเนอร์ ตัวทำละลายสารพัดประโยชน์
แผ่นพื้นก่อสร้าง งานก่อสร้างที่รวดเร็ว แข็งแรง ทนทาน และประหยัด
ลงเสาเข็ม รากฐานที่มั่นคงสำหรับบ้านของคุณ
เตรียมความพร้อมก่อนสร้างไซต์งานก่อสร้าง
ยาแนวกระเบื้อง วิธีการยาแนวแบบละเอียด
ปูกระเบื้อง คู่มือฉบับสมบูรณ์สำหรับมือใหม่
ผนังเบา ทางเลือกใหม่ในการกั้นห้อง เปลี่ยนบ้านให้สวย น่าอยู่ ฟังก์ชั่นครบ
เหล็กกล่อง VS เหล็กตัวซี: เลือกแบบไหนดีนะ? ️
ตัวเลือกโครงสร้างที่แข็งแรง ทนทาน และใช้งานหลากหลาย
เหล็กแป๊บเหลี่ยม 6 หุน x 6 หุน x 1.2 มม.: ตัวเลือกโครงสร้างที่แข็งแรง ทนทาน และใช้งานหลากหลาย
ตัวเลือกโครงสร้างที่แข็งแรง ทนทาน และใช้งานหลากหลาย
เสริมโครงสร้างแข็งแรง มั่นคง ปลอดภัย
เสริมโครงสร้าง ทนทาน แข็งแรง ปลอดภัย
เสริมโครงสร้างเบา แต่แกร่ง ประหยัดทั้งเงิน ประหยัดทั้งแรง! เหล็กเส้นกลม (เบา) 15 มิล (5 หุน)
เสริมโครงสร้างเบา แต่แกร่ง ประหยัดทั้งเงิน ประหยัดทั้งแรง!
เสริมโครงสร้าง ทนทาน แข็งแรง ปลอดภัย เหล็กเส้นกลม SR24
เสริมโครงสร้างแข็งแรง มั่นคง ปลอดภัย
เสริมโครงสร้าง ทนทาน แข็งแรง ปลอดภัย
เพื่อนร่วมทางงานโครงสร้าง ประหยัดทั้งเงิน ประหยัดทั้งแรง!
เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต SD30 (เต็ม) 25 มม. เพื่อนซี้โครงสร้างบ้านแก!
บล็อกปูหญ้า : เพื่อนใหม่สุดคูลสำหรับสวนของคุณ!
ฝ้าเพดาน เติมเต็มความงาม และฟังก์ชันการใช้งานให้กับบ้านของคุณ
อิฐบล็อก : เพื่อนใหม่สุดคูลสำหรับบ้านของคุณ!
เพื่อนใหม่สุดคูลสำหรับบ้านของคุณ!
ทางเลือกใหม่สำหรับการถ่ายเทอากาศในบ้าน
ตัวช่วยจัดการน้ำเสียในบ้านของคุณ
เพื่อนใหม่สุดคูลสำหรับบ้านของคุณ!
ฐานรากมั่นคงสำหรับโครงสร้างของคุณ
บล็อกปูพื้นตัวหนอน: ของดีบอกต่อ!
เพิ่มลูกเล่น สร้างบรรยากาศ ให้บ้านของคุณ
เพื่อนแท้โครงสร้าง รับน้ำหนัก มั่นคง ปลอดภัย
แผ่นปูทางเท้า 40x40 ซม. หนา 4 ซม.: เสริมสวย ทนทาน คุ้มค่า
เพื่อนแท้ระบบน้ำในบ้าน!
เพื่อนแท้ช่างก่อสร้าง งานไว เงินในกระเป๋า!
ปรับระดับพื้นก่อนปูกระเบื้อง เทคนิคการเตรียมพื้นให้เรียบเนียน
รอยร้าวบนผนังปูน สัญญาณเตือนภัยที่ไม่ควรมองข้าม
การสกิมโค้ท เคล็ดลับเนรมิตผนังเรียบเนียนไร้ที่ติ
กลยุทธ์พิชิตงานก่อแบบมืออาชีพ ผลลัพธ์แข็งแรง ทนทาน สวยงาม
งานฉาบ เคล็ดลับและเทคนิคสู่ผลงานอันสมบูรณ์แบบ
เพื่อนแท้ช่าง เจาะรูได้ทุกวัสดุ!
คู่หูช่างมืออาชีพ สยบทุกงานตัดเหล็กอย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อนซี้ช่างเจ๋ง ๆ งาน DIY สุดมันส์!
เพื่อนซี้ช่างไม้ ช่างก่อสร้าง งาน DIY ทุกคน!
เพื่อนซี้ช่างมุงหลังคา
เพื่อนซี้ช่างไม้
เพื่อนซี้ช่างก่อสร้าง
คู่มือสำหรับมือใหม่ วิธีการเลือกใช้วัสดุก่อสร้าง
มุงหลังคาสบาย ๆ ทนทาน ยาวนาน
เปลี่ยนหลังคาบ้านให้สวย ทน เย็น ประหยัด!
คู่มือฉบับมือใหม่ เตรียมตัวก่อนรีโนเวทบ้าน
เนรมิตหลังคาสวย ปัง ทน เก๋!
ท่อ PVC ทางเลือกคุ้มค่าสำหรับงานระบบประปา
วัสดุมุงหลังคาคุณภาพ เหมาะกับงานหลากหลาย
ฮาร์ดแวร์วัสดุก่อสร้าง: อุปกรณ์คู่ใจช่าง ก่อสร้างบ้านให้สำเร็จ
มุงหลังคาสวย ทน ประหยัด!
เพื่อนซี้ช่างหลังคา มุงหลังคาสวย ทน ประหยัด!
ท่อใยหิน เพื่อนซี้ช่างประปา ทนทาน ปลอดภัย คุ้มค่า!
กำลังมองหารั้วที่สวยงาม แข็งแรง ปลอดภัย อยู่ใช่ไหม?
ฮาร์ดแวร์วัสดุก่อสร้าง: อุปกรณ์คู่ใจช่าง ยกระดับงานก่อสร้างให้เหนือระดับ
จัดการสายไฟให้เป็นระเบียบ สวยงาม ปลอดภัย ง่ายๆ กับกิ๊บตอกสายไฟ!
ตะปูสังกะสีตัวจิ๋ว เพื่อนซี้ช่างหลังคาบ้านคุณ
มีหรือยัง ? ตัวช่วยงานก่อสร้างที่แข็งแรง มั่นคง ปลอดภัย
เหล็กก่อสร้างบ้าน คุณภาพดี : รากฐานที่มั่นคง สู่บ้านที่ปลอดภัย
ปูน... หัวใจสำคัญของงานก่อสร้าง
ผู้ช่วยงานก่อสร้างที่แข็งแรง ทนทาน ยึดแน่นทุกสภาวะ
เคล็ด(ไม่)ลับ แบ่งสัดส่วนในห้องแบบง่าย
เผยพื้นที่ "มาแรง" ซื้อบ้านปี 2567 : เทรนด์ใหม่ ตอบโจทย์ทุกไลฟ์สไตล์
ไอเดียปูบล็อกทางเดิน สร้างเสน่ห์ให้สวนสวย
ไอเดียงานประดิษฐ์จากปูน สุดคูล ทำง่าย สวยงาม
เนรมิตสวนสวย ด้วยหินเกล็ด หินโม่ และแผ่นพื้น: เคล็ดลับจัดสวน DIY สไตล์ไม่ซ้ำใคร
โตเจริญพรทุบราคาพิเศษ 💥ทรายหยาบ, ทรายกันน้ำท่วม ถุงละ 28 บาทเท่านั้น ราคาฉ่ำๆ ต้อนรับหน้าฝน ⛈️🌧
หน้าฝนดูแลบ้านให้พร้อม ด้วยวัสดุก่อสร้างจาก โตเจริญพร
ฝนตกไม่หวั่น! เทคนิคการก่อสร้างบ้านให้ปลอดภัยในฤดูฝน
ภัยธรรมชาติที่ไม่อาจหลีกเลี่ยง แต่สามารถรับมือได้
ไอเดียแปลงผักแบบประหยัดงบ ปลูกเอง กินเอง ดีต่อสุขภาพ
รวมสาเหตุน้ำฝนรั่วซึมเข้าบ้าน และวิธีแก้ไขที่ถูกต้อง!
เทคนิคเลือกสีทาผนัง ให้ปัง และคูล!
เคยทราบกันไหม? ทำไมเราไม่ใช้ทรายทะเลสร้างบ้าน
ปลั๊ก-สวิตช์ไฟ ในห้องน่าจะสูงสักเท่าไร article
ทรายละเอียดมีลักษณะอย่างไร article
แหล่งทรายในประเทศไทย
เทคนิคในการก่อสร้างต่างๆ
การแบ่งประเภทของสีต่างๆ article
วัสดุก่อสร้าง คืออะไร และ แบ่งได้กี่ประเภท ? article
การจัดการกับปัญหา รั่ว...ซึม...ร้าว