ไม้เบญจพรรณ มีกี่ชนิด มีคุณสมบ...
ReadyPlanet.com


ไม้เบญจพรรณ มีกี่ชนิด มีคุณสมบัติยังไง ใช้ทำอะไรได้บ้าง?
avatar
ploypola


 

ไม้เบญจพรรณ มีกี่ชนิด มีคุณสมบัติยังไง ใช้ทำอะไรได้บ้าง?

ไม้ที่นิยมนำใช้ในอุตสหกรรมของประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเป็นไม้เศรษฐกิจที่ปลูกกันอย่างแพร่หลาย เช่น ไม้ยางพารา ไม้เบญจพรรณ ไม้ประดู่ เป็นต้น ในวันนี้ทาง MTK จะพาคุณมารู้จัก ไม้เบญจพรรณ มีกี่ชนิด พร้อมทั้งคุณสมบัติเด่นที่หลายๆ คนอาจจะยังไม่รู้!!!! ไม้เบญจพรรณนับว่าเป็นไม้ที่มีชนิดให้เลือกหลากหลายตามการนำไปใช้งาน เราเลยจะพาคุณมารู้จัก แล้วคุณจะรู้ว่าไม้เบญจพรรณมีดีกว่าที่คิด!!!

 

ทำไมถึงชื่อ ไม้เบญจพรรณ ?

ไม้เบญจพรรณ เป็นไม้ประเภทไม้เนื้ออ่อน และ เนื้อแข็ง แถมเป็นไม้ผลัดใบ ที่มาของชื่อมาจากคำว่า "เบญจะ" ที่แปลว่าห้า ซึ่งเป็นคำที่ใช้เรียกพรรณไม้ที่มีลักษณะเด่น 5 ชนิด ได้แก่ ไม้มะค่า ไม้สัก ไม้แดง ไม้ประดู่ และ ไม้ชิงชัน ส่วนใหญ่ไม้เบญจพรรณจะผลัดใบในช่วงหน้าแล้ง และ นอกจากไม้ทั้ง 5 ชนิดแล้วก็ยังมีไม้ชนิดอื่นอีกด้วย

 

ไม้เบญจพรรณ มีกี่ชนิด กันแน่ ???

ไม้เบญจพรรณ มีกี่ชนิด

อย่างที่เราบอกไปในข้างต้นว่าถึงแม้ว่าไม้เบญจพรรณจะแปลว่าห้าก็ตาม แต่จริงๆ แล้วไม้เบญจพรรณมีถึง 13 ชนิดด้วยกัน!!! มาดูกันดีกว่าว่าจะมีไม้ชนิดไหนกันบ้าง

  • ไม้สัก

  • ไม้ยาง

  • ไม้ชินชัน

  • ไม้สะเก็ดแดง

  • ไม้อีโมง

  • ไม้พยุงแกลบ

  • ไม้กระพี้

  • ไม้แดงจีน

  • ไม้ขะยุง

  • ไม้ซิก

  • ไม้พะยูน

  • ไม้หมากพลู

  • ไม้เก็ดดำ

 

ไม้เบญจพรรณ มีลักษณะอย่างไร ?

ไม้เบญจพรรณ

ไม้เบญจพรรณมีหลากหลายสี และ ค่อนข้างจะแข็งแรง ทนทานมาก ในเรื่องของความแข็งแรงถือว่าเป็นไม้ที่แข็งแรงไม่แพ้ไม้เนื้อแข็งชนิดอื่นเลย แต่ในเรื่องความสวยงามของเนื้อไม้อาจจะสู้ไม้ชนิดอื่นยังไม่ได้ แต่ด้วยคุณสมบัติของความแข็งแรง ส่วนใหญ่จึงนิยมนำไม้เบญจพรรณมาทำเป็นเฟอร์นิเจอร์โครงต่างๆ หรือ นำมาใช้ทำไม้โครงสำหรับรองรับน้ำหนักนั่นเอง

  • มีสีเรียบเสมอกันทั้งแผ่น สีของไม้จะขึ้นอยู่กับประเทศของไม้ที่เอามา แต่ส่วนใหญ่มักจะมีสีโทนเหลือง ไม่ก็แดง

  • เนื้อไม้ และ ลายไม้แม้จะไม่สวยเท่าไม้ชนิดอื่น แต่ก็สามารถนำไปใช้งานได้ยาวนาน

  • เป็นไม้ที่มีความแข็งแรง สามารถตัดแต่ง เจาะยึดไม้ได้

 

นิยมนำไม้เบญจพรรณมาทำงานรูปแบบไหน ?

ไม้เบญจพรรณ มีกี่ชนิด

ส่วนใหญ่จะนิยมนำไปทำไมเโครงซะส่วนใหญ่ เนื่องจากคุณสมบัติในเรื่องความแข็งแรงนั่นเอง ซึ่งไม้โครงนั่นก็เป็นเสมือนโครงสร้างหลักของเฟอร์นิเจอร์นั้นๆ ไม้พาเลทได้อีกด้วย ซึ่งเป็นไม้สำหรับรองรับสินค้าโดยจะมีคานสำหรับรับน้ำหนัก นอกจากนั้นยังสามารถนำไม้พาเลทที่ทำจากไม้เบญจพรรณมาทำเป็นเฟอร์นิเจอร์ไม้พาเลทได้อีกด้วย ถึงแม้ตัวไม้อาจจะไม่สวยมาก แต่ถ้าในเรื่องของความแข็งแรงบอกเลยว่าเอาอยู่ ใครที่ต้องการนำไปใช้งานในระยะยาวบอกเลยว่าต้องไม้เบญจพรรณเลย!!!

  • ไม้โครงเบญจพรรณ เช่น ไม้โครงตู้ ไม้โครงเตียง ไม้โครงบ้าน

  • ไม้จ๊อยเบญจพรรณ เช่น ไม้จ๊อยสำหรับงาน built-in งานตกแต่งต่างๆ

  • ไม้พาเลทเบญจพรรณ สำหรับรองรับสินค้า หรือ นำมาทำเฟอร์นิเจอร์จากไม้พาเลท

  • งานเฟอร์นิเจอร์จากไม้เบญจพรรณต่างๆ เช่น โต๊ะ ตู้ เตียง

 

ไม้เบญจพรรณคุณภาพดีต้องที่ MTK

  • ไม้ที่ดีต้องโรงงานMTK ไม้ของเราผ่านการรับรองมาตรฐาน IPPC จากกรมวิชาการเกษตรแล้วเรียบร้อย

  • เครื่องจักรมีคุณภาพทุกขั้นตอน เราใช้เครื่องจักรต่างๆคุณภาพดี  สามารถผลิตไม้ได้หลายรูปแบบตามมาตรฐานแน่นอน ไม่ว่าจะเป็น

  • ไม้ยางพารา ไม้ยอดนิยมที่มีความแข็งแรง ทนทาน ใช้งานได้หลากหลาย ง่ายต่อการตัดแต่ง สามารถย้อมสีได้ง่าย 

  • ไม้เบญจพรรณ ไม้ที่มีความแข็งแรง ทนทาน เหมาะสำหรับงานที่ต้องการความแข็งแรงสูง รองรับน้ำหนักได้ดี

  • ไม้ทุเรียน ไม้เนื้อแน่น เหมาะสำหรับนำไปใช้ในการตัด เจาะ ทำไม้โครง ไม้จ๊อย ให้ความแข็งแรง ทนทานที่ดี

จะเป็นการนำไม้ไปแปรรูปเป็นไม้แปรรูป หรือ แปรรูปเป็นไม้รูปแบบอื่นอย่าง

  • ไม้พาเลท ไม้สำหรับรองรับสินค้า มีรูปแบบคานที่หลากหลาย ที่ช่วยทำให้ง่ายต่อการขนย้าย 

  • ไม้จ๊อย ไม้รอยต่อฟันปลาที่ช่วยให้งาน built-in เป็นเรื่องง่ายขึ้น

  • ไม้โครง ไม้สำหรับใช้ด้าม ยึดเป็นแกนหลัก มีความแข็งแรง ทนทานสูง

  • ครบทุกความต้องการ มีบริการตั้งแต่  รับผลิตและจำหน่ายไม้ยางพาราแปรรูป , บริการรับเลื่อย-ไสไม้ ตัดแต่งไม้ , บริการอัดน้ำยา-อบไม้ จนถึงบริการขนส่งไม้ทั่วประเทศไทย

  • โรงงานมาตรฐาน โรงงานของเรามีหน้าโรงงานจริงอยู่ที่ จังหวัดระยอง ที่เปิดให้บริการมากกว่า 25 ปี

 

เลือกไม้พาเลทที่ดี เลือกไม้ที่โรงงาน MTK WOOD

 

สนใจสั่งซื้อ และ ดูข้อมูลเพิ่มเติม MTK ได้หลากหลายช่องทางที่

Facebook  : MTK เอ็มทีเค

Line  :   @mtkwood

Tel 095-654-6551

Email :    marketing@mtkwood.com




ผู้ตั้งกระทู้ ploypola :: วันที่ลงประกาศ 2021-12-23 22:44:35


แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล 
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล